ReadyPlanet.com
dot
dot
Newsletter

dot
Facebook


Guide เตรียมการเปิดห้างฯ ช่วงกึ่ง

 ฉากทัศน์ที่สอง คือการยอมรับว่าเราไม่สามารถหยุดการแพร่ของเชื้อโควิด-19 ได้ แต่เราสามารถควบคุมให้มีการแพร่ในระดับที่ต่า ( low transmission) มีการสูญเสียชีวิตน้อย เพราะโรงพยาบาลรองรับได้ทัน ในขณะเดียวกันก็เริ่มเปิดให้ผู้คนทามาหาเลี้ยงชีพ ทาธุรกิจ ทาการผลิด นักเรียนได้เรียนหนังสือ คนได้ทางาน และสังคมไม่หยุดนิ่ง มีการพัฒนาที่สมดุลย์ทั้งการควบคุมโรคและการประกอบกิจการและกิจกรรมต่างๆ เป็นการกลับสู่ชีวิตปกติแต่ด้วยวิถีแบบใหม่ (New Normal)

ฉากทัศน์นี้จะสามารถทาให้เป็นจริงและเกิดขึ้นได้ โดยอาศัยองค์ประกอบที่สาคัญ 5 ประการคือ
1) เพิ่มความเข้มข้นในมาตรการทางสาธารณสุขและการแพทย์ ประกอบด้วยการขยายการตรวจให้ครอบคลุมทุกจังหวัด มีการตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็ว แยกรักษา เฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมในบางกลุ่มประขากร ที่เสี่ยงต่อการระบาด เช่นกลุ่มที่อยู่กันแออัด เรือนจา บ้านคนชรา ชุมชนแรงงานข้ามชาติ เป็นต้น มีการ
3
ติดตามผู้สัมผัสอย่างรวดเร็ว มีสถานที่รองรับการแยกกัก และหอพักผู้ป่วยโควิด ที่เพียงพอ สะดวกได้มาตรฐานในทุกจังหวัด (ภาคผนวก 2)
2) ทาให้ทุกคน ทุกสังคม และทุกพื้นที่ เข้าใจและปฎิบัติตามมาตรการสุขลักษณะ ล้างมือ สวมหน้ากากอนามัยเมื่อออกจากบ้าน การมีระยะห่างทางกาย งดการชุมนุม งดงานสังคมที่จัดใหญ่โตมีคนมากๆเปลี่ยนเป็นงานขนาดเล็กภายในหมู่ญาติสนิทและครอบครัว เป็นต้น
3) เปิดให้ธุรกิจเริ่มเดินหน้า โดยมีการประเมินความเสี่ยงของการดาเนินงานโดยองค์กร ธุรกิจ อุตสหกรรม หากมีความเสี่ยงต้องปรับให้เข้ามาสู่ความเสี่ยงต่าที่จัดการได้ เช่นใช้มาตรการตรวจวัดไข้ เว้นระยะห่างทางกาย ลดการใช้เสียง เพิ่มการระบายอากาศ การลดจานวนผู้คนที่มาติดต่อใช้บริการ และการใช้เท็คโนโลยี่ให้ทางาน ประชุม ติดต่อบริการ โดยไม่ต้องมีการพบปะกันมากๆ (ภาคผนวก 3)
4) การปิดแหล่งแพร่โรคที่สาคัญ บริการหรือกิจการที่มีความเสี่ยงสูงซึ่งถูกสอบสวนพบว่าเป็นแหล่งแพร่ระบาดให้เกิดผู้ติดเชื้อมากๆ อันได้แก่สถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ สถานบริการทางเพศทั้งตรงและแฝง สนามการพนันในรูปแบบต่างๆ ต้องปิดในระยะยาว สาหรับการปิดกิจการอื่นๆ ในอนาคต ควรใช้วิธีปิดแบบจาเพาะ Selective measures แทนการปิดแบบครอบจักรวาล
5) มีระบบเฝ้าระวังตรวจจับและคาดการณ์ความรวดเร็วของการแพร่ระบาดในระดับพื้นที่และระดับประเทศ เพื่อเป็นการจัดระดับสถานการณ์ เป็นการเตือนและเพิ่มมาตรการหรือผ่อนคลายมาตรการตามบริบทของแต่ละจังหวัดหรือหากเป๋นไปได้ย่อยลงไประดับอาเภอ (ภาคผนวก 4) และมีการเฝ้าระวังโดยภาคประชาชน

การเปลี่ยนผ่านจากมาตรการกึ่งล๊อคดาวน์ ไปสู่มาตรการสร้างเสถียรภาพควรต้องเตรียมตัวและให้มั่นใจว่ามาตรการที่สาคัญยังคงอยู่ ไม่เปลี่ยนผ่านแบบรวดเร็ว ควรดาเนินการโดยเริ่มจากจังหวัดกลุ่มแรกที่ไม่พบผู้ป่วยในสองสัปดาห์ที่ผ่านมา (ประมาณ 32 จังหวัด) สามารถเริ่มได้ในต้นเดือนพฤษภาคม หรืออาจนาร่องทดลองปลายเดือนเมษายนสักสามหรือสี่จังหวัด หลังจากนั้นจึงเริ่มในกลุ่มที่สองคือจังหวัดที่พบผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่แบบประปราย (ประมาณ 38 จังหวัด) ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม สาหรับกลุ่มที่สามคือจังหวัดที่มีการระบาดอย่างต่อเนื่องเป็นกลุ่มก้อน (ประมาณ ๗ จังหวัด) หากจังหวัดเหล่านี้สามารถลดการระบาดลงมาได้ในระดับต่าตามเกณฑ์ และไม่มีการระบาดเป็นกลุ่มก้อนใหญ่ ก็ควรให้เริ่มเปลี่ยนผ่านได้ในต้นเดือนมิถุนายน หรืออาจเริ่มก่อนหน้านั้นได้ หากควบคุมสถานการณ์ได้ดี




อัพเดทข่าวล่าสุดในวงการ Lastest News

สมาคมผู้ค้าปลีกไทย ลุ้นมาตรการรัฐ หนุน “ค้าปลีก” ดาวเด่นปี 68 ผลักดันจีดีพีไทยเติบโต article
โครงการ SME สัญจร ครั้งที่ 1 article
“โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส” article
สมาคมผู้ค้าปลีกไทย แต่งตั้งให้ “นายณัฐ วงศ์พานิช” ดำรงตำแหน่ง “ประธานสมาคมผู้ค้าปลีกไทย” คนใหม่ article
"สมาคมผู้ค้าปลีกไทย " article
ค้าปลีกภูธรยุค 4.0 : เจนใหม่ มองไกล ใจถึง ลุยจริง article
เศรษฐกิจโคม่าทุบ‘ค้าปลีก 4.4 ล้านล้าน’ ฟื้นช้า เนิบ-นาน ‘อีสาน’ทรุดหนัก 30 ปี
TRA CONFERENCE 2023 โครงการสัมมนาประจำปี ครั้งที่ 2/2566
Singapore Franchising and Licensing Asia 2023
Franchising & Licensing Asia (FLAsia)
งานสัมมนา " เติมพลัง ติดปีก ค้าปลีกด้วย เทคโนโลยี AI , Data Analytics, และ METAVERSE "
ห้ามพลาด! กับ 2 หัวข้อสัมมนาจากสมาคมผู้ค้าปลีกไทย ที่อัดแน่นไปด้วยสาระและเนื้อหา จากวิทยากรตัวจริงในวงการทั้งผู้บริหารและเจ้าของร้านอาหารชื่อดัง ที่จะมาตอบโจทย์ธุรกิจของคุณ
TRA visit Huawei Customer Solution Innovation & Integration Experience Center 
แถลงข่าว Retail Slump : lose 500,000 million baht in 2020
บทความ ถอดเคล็ดวิชา CEO สู้วิกฤต
แนะนำคณะกรรมการบริหารสมาคมผู้ค้าปลีกไทย วาระ 2563-2565
วิสัยทัศน์สมาคมผู้ค้าปลีกไทย 2020-2022
สมาคมฯ เข้าพบหารือรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงาน
สมาคมฯ เข้าพบนายกรัฐมนตรีและทีมเศรษฐกิจนำเสนอวิสัยทัศน์ในการส่งเสริมเศรษฐกิจหลังโควิด 19
การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการหลักสูตร เจ้าหน้าที่สอบ Examiner
สมาคมฯ เข้าเยี่ยม MK Restaurant Group 28.8.2020
สมาคมฯ เข้าเยี่ยมหารือ ZEN corporation group PLC
งานแข่งขันกอล์ฟเชื่อมความสัมพันธ์สมาคมผู้ค้าปลีกไทย ปี 2563
รายงานสภาวะเศรษฐกิจไทย ไตรมาสที่ 2/2563
ผูับริหารสมาคมฯ เข้าหารือธนาคารแห่งประเทศไทย
Workshop Post Covid19 หารือทางออกเศรษฐกิจกับสภาหอการค้าไทย
สถานการณ์ค้าปลีก ช่วงวิกฤติโควิด 19
สมาคมฯ ให้การต้อนรับ ฯพณฯนายกรัฐมนตรี เยี่ยมสมาคมผู้ค้าปลีกไทยเพื่อหารือร่วมกัน
สมาคมฯ ส่งหนังสือถึง ศบค เพื่อขอขยายเวลาปิดห้างฯเป็น 21:00 น.
คนต่างด้าวสามารถทำงานขายของหน้าร้าน
ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ
Prime Minister Meet with Retailers
การประชุมร่วมเพื่อกำหนดมาตรการและคู่มือป้องกัน สำหรับการผ่อนปรนในสถานการณ์โควิด 19
เสนอภาครัฐเพื่อเยียวยาผู้ค้าปลีก
Check List Risk of Covid19 แบบประเมินความพร้อมในการป้องกันในสถานประกอบการ
การเตรียมพร้อมรับ เปิดห้างฯ หลัง ผ่อนคลาย Covid19
มาตราการช่วยเหลือลูกหนี้ ธปท
ข้อเสนอต่อ กระทรวงแรงงาน 13.3.2563
รัฐช่วยธุรกิจลดผลกระทบ Covid 19 ด้านภาษี และ ลดเงินส่ง สปส
เรียกร้องรัฐขอมาตราการเยียวยา วิกฤติ COVID-19
เรียกร้องรัฐขอมาตราการเยียวยา
ผู้ค้าปลีกเดินหน้า#งดให้ถุงพลาสติก #ลดขยะเป็นพิษ
สมาคมเข้าพบเพื่อแสดงความยินดี ฯพณฯ รมต กระทรวงพาณิชย์
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี 25 กค 2562
Thai Retailer Facebook Link



Copyright © 2014 All Rights Reserved.